ทั่วไป

หมวดหลัก
เอกสารส่วนบุคคล -> นิตย์ เวชชวิศิษฏ์ (พันโท,นพ.,หลวง)

รหัสเอกสาร
สบ 11

ผู้รวบรวมเอกสาร
หลวงนิตย์เวชชวิศิษฏ์

ชื่อ
พันโทนายแพทย์ หลวงนิตย์ เวชชวิศิษฏ์-ผู้ปฏิรูปโรงพยาบาลไทยและการศึกษาพยาบาลไทย ยุคมหาสงครามเอเชียอาคเนย์-ระหว่างปีพ.ศ.2471-2499

คำนำ

ภาพส่วนตัวของพันโทนายแพทย์ หลวงนิตย์ เวชชวิศิษฏ์ ชุดนี้ได้จากการสแกนในหนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพของท่าน ทั้งหมดจำนวน 15 ภาพ ท่านเป็นผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพของไทยในยุคมหาสงครามเอเชียอาคเนย์อย่างแท้จริง เห็นได้จากที่ท่านเป็นอดีตอธิบดีกรมการแพทย์คนแรก ผู้นำในการจัดตั้งโรงพยาบาลจังหวัดครบทุกจังหวัด และบางอำเภอ พ.ศ. 2485 สนองนโยบายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม จัดตั้งวิทยาลัยพยาบาลทั่วประเทศ ผู้สร้างโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคยุคแรก เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลกลางคนแรก และทำให้เกิดสิ่งแรกในเมืองไทยเกิดที่โรงพยาบาลกลาง คือ ทำยาฉีดเองตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ตึกคนไข้ 3 ½ พร้อมที่เก็บน้ำประปา ลิฟต์สำหรับคนไข้ที่ตึก 1 (ด้านถนนเสือป่า) ตึกอำนวยการชั้น 2-3 ด้านหน้าตอนกลางใช้อิฐแก้วจากอเมริกา เพื่อให้ภายในตึกสว่าง กำเนิดโรงเรียนพยาบาลของกรมการแพทย์ จากโรงเรียนนี้ทำให้เกิดโรงเรียนพยาบาลขึ้นในส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2489 เป็นผู้ให้กำเนิดสมาคมวิทยาลัยศัลยแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย ผู้สร้างโรงพยาบาลหญิง พ.ศ. 2493 -2499 และโรงพยาบาลเด็ก ผู้ก่อตั้งโรงเรียนธนาคารเลือดสำหรับพยาบาล พ.ศ. 2496 โรงเรียนใช้ยาระงับความรู้สึกสำหรับพยาบาล พ.ศ. 2499 และผู้ก่อตั้งสมาคมวิทยาลัยศัลยแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย

ห้องภาพ

วีดีโอ/เสียง

วิดีโอ
Get the Flash Player to see this player.
เสียง
Get the Flash Player to see this player.

เอกสาร

อื่นๆ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร (Identity statement area)
1.1 สัญลักษณ์หรือรหัสอ้างอิง (Reference code(s))

1.2 ชื่อเอกสาร (Title)

1.3 วัน เดือน ปี ของเอกสาร (Date(s))

1.4 ระดับของคำอธิบายเอกสาร (Level of description)

1.5 ขนาดและสื่อของเอกสาร (ปริมาณ จำนวนหรือขนาด) (Extent and medium of the unit ofdescription)
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของเอกสาร (Context area)
2.1 ชื่อผู้ผลิต/รวบรวมเอกสาร (Name of creator(s))

2.2 ประวัติหน่วยงานหรือประวัติเจ้าของเอกสาร (Administrative / Biographical history)

2.3 ประวัติของเอกสารจดหมายเหตุ (Archival history)

2.4 แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร (Immediate source of acquisition or transfer)
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร (Content and structure area)
3.1 ขอบเขตและเนื้อหาของเอกสาร (Scope and content)

3.2 การประเมินคุณค่า การทำลายและการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร (Appraisal destruction and scheduling information)

3.3 การเพิ่มขึ้นของเอกสาร (Accruals)

3.4 ระบบการจัดเรียงเอกสาร (System of arrangement)
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร (Conditions of access and use area)
4.1 เงื่อนไขในการเข้าถึงเอกสาร (Conditions governing access)

4.2 เงื่อนไขการทำสำเนาเอกสาร (Conditions governing reproduction)

4.3 ภาษา/ตัวอักษรของวัสดุจดหมายเหตุ (Language/scripts of material)

4.4 ลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคที่มีผลต่อการใช้เอกสาร (Physical characteristics and technical requirements)

4.5 เครื่องมือช่วยค้น (Finding aids)
ส่วนที่ 5 ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่เกี่ยวข้อง (Allied materials area)
5.1 สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ (Existence and location of originals)

5.2 สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา (Existence and location of copies)

5.3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (Related units of description)

5.4 ข้อความเกี่ยวกับการพิมพ์ (Publication note)
ส่วนที่ 6 ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ หรือส่วนหมายเหตุ (Notes area)
6.1 หมายเหตุ (Notes)
ส่วนที่ 7 ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมการทำคำอธิบายเอกสาร (Description control area)
7.1 บันทึกของนักจดหมายเหตุ (Archivist's note)

7.2 กฎ ระเบียบหรือแนวปฏิบัติ (Rules or conventions)

7.3 วัน เดือน ปีที่จัดทำคำอธิบายเอกสาร (Date(s) of descriptions)