ทั่วไป

หมวดหลัก
เอกสารอ้างอิงและหนังสือหายาก -> ประวัติบุคคลสำคัญทางการแพทย์

รหัสเอกสาร
ออ 2.3

ผู้รวบรวมเอกสาร
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ

ชื่อ
ประวัติบุคคลสำคัญทางการแพทย์ (และสาธารณสุข)-ปีพ.ศ.2507-2552

คำนำ

เอกสารอ้างอิงและหนังสือหายากชุดนี้เป็นหนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ หนังสือที่ระลึก และหนังสือประวัติบุคคลสำคัญทางการแพทย์และสาธารณสุขไทยที่จัดทำขึ้นเนื่องในโอกาสสำคัญต่างๆ โดยการรับมอบ (บริจาค) และจัดซื้อ มีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวประวัติของแต่ละท่านและข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ทางการแพทย์และสาธารณสุข ได้แก่ ลูกผู้ชายชื่อบรรลุ เกียรติประวัติแพทย์ไทยฝากไว้ให้คนรุ่นหลัง:ชีวิตและงานของศาสตราจารย์นายแพทย์เสม พริ้งพวงแก้ว บันทึกน้ำใจ (จัดทำในดิถีครบรอบ ๙๖ ปี) ศ.นพ. เสม พริ้งพวงแก้ว ๘๐ ปี นายแพทย์ไพโรจน์ นิงสานนท์ ข้าวรวงใหญ่แห่งวงการสาธารณสุขไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เภสัชกรหญิงสำลี ใจดี ชีวิตนอกสายพาน 72 ปี ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ๘๐ ปี นายแพทย์อมร นนทสุต ประวัติคำไว้อาลัย “นายประยงค์ ตั้งตรงจิตร” และลูกรำลึก ที่ระลึกงานฉลองครบรอบอายุ ๖๐  ปี ศาสตราจารย์จำลอง สุวคนธ์ หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพศาสตราจารย์ ดร. สตางค์ มงคลสุข ศาสตราจารย์นายแพทย์หลวงวิเชียรแพทยาคม นายแพทย์ละออง ปานะนันทน์ พันโทนายแพทย์นิตย์ เวชชวิศิษฏ์ ศาสตราจารย์นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว นายแพทย์สมบูรณ์  วัชโรทัย นายประดิษฐ์ หุตางกูร พระบำราศนราดูร ศาสตราจารย์นายแพทย์วีกูล วีรานุวัตติ์ นายเสรี เวชชาชีวะ พลตรีนายแพทย์พึ่ง พินทุโยธิน ศาสตราจารย์นายแพทย์สวัสดิ์ แดงสว่าง ศาสตราจารย์นายแพทย์สุด แสงวิเชียร พลโทชม ศรทัตต์ นายแพทย์ประเมิน จันทวิมล ศาสตราจารย์นายแพทย์ประกอบ ตู้จินดา และนายแพทย์กมล  สินธวานนท์ อายุของเอกสารระหว่าง พ.ศ. 2507 - 2552 รวม 4 กล่อง

ห้องภาพ

วีดีโอ/เสียง

วิดีโอ
Get the Flash Player to see this player.
เสียง
Get the Flash Player to see this player.

เอกสาร

อื่นๆ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร (Identity statement area)
1.1 สัญลักษณ์หรือรหัสอ้างอิง (Reference code(s))

1.2 ชื่อเอกสาร (Title)

1.3 วัน เดือน ปี ของเอกสาร (Date(s))

1.4 ระดับของคำอธิบายเอกสาร (Level of description)

1.5 ขนาดและสื่อของเอกสาร (ปริมาณ จำนวนหรือขนาด) (Extent and medium of the unit ofdescription)
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของเอกสาร (Context area)
2.1 ชื่อผู้ผลิต/รวบรวมเอกสาร (Name of creator(s))

2.2 ประวัติหน่วยงานหรือประวัติเจ้าของเอกสาร (Administrative / Biographical history)

2.3 ประวัติของเอกสารจดหมายเหตุ (Archival history)

2.4 แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร (Immediate source of acquisition or transfer)
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร (Content and structure area)
3.1 ขอบเขตและเนื้อหาของเอกสาร (Scope and content)

3.2 การประเมินคุณค่า การทำลายและการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร (Appraisal destruction and scheduling information)

3.3 การเพิ่มขึ้นของเอกสาร (Accruals)

3.4 ระบบการจัดเรียงเอกสาร (System of arrangement)
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร (Conditions of access and use area)
4.1 เงื่อนไขในการเข้าถึงเอกสาร (Conditions governing access)

4.2 เงื่อนไขการทำสำเนาเอกสาร (Conditions governing reproduction)

4.3 ภาษา/ตัวอักษรของวัสดุจดหมายเหตุ (Language/scripts of material)

4.4 ลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคที่มีผลต่อการใช้เอกสาร (Physical characteristics and technical requirements)

4.5 เครื่องมือช่วยค้น (Finding aids)
ส่วนที่ 5 ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่เกี่ยวข้อง (Allied materials area)
5.1 สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ (Existence and location of originals)

5.2 สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา (Existence and location of copies)

5.3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (Related units of description)

5.4 ข้อความเกี่ยวกับการพิมพ์ (Publication note)
ส่วนที่ 6 ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ หรือส่วนหมายเหตุ (Notes area)
6.1 หมายเหตุ (Notes)
ส่วนที่ 7 ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมการทำคำอธิบายเอกสาร (Description control area)
7.1 บันทึกของนักจดหมายเหตุ (Archivist's note)

7.2 กฎ ระเบียบหรือแนวปฏิบัติ (Rules or conventions)

7.3 วัน เดือน ปีที่จัดทำคำอธิบายเอกสาร (Date(s) of descriptions)