ทั่วไป

หมวดหลัก
เอกสารอ้างอิงและหนังสือหายาก -> ประวัติศาสตร์ทางการแพทย์

รหัสเอกสาร
ออ 2.2

ผู้รวบรวมเอกสาร
หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ

ชื่อ
ประวัติศาสตร์ทางการแพทย์ (และสาธารณสุข)-ปีพ.ศ.2447-2552

คำนำ

เอกสารอ้างอิงชุดนี้เป็นหนังสืออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพบุคคลสำคัญ หนังสือและจุลสารทางการแพทย์และสาธารณสุขที่รวบรวมจากการรับมอบ (บริจาค) และการจัดซื้อ มีเนื้อหาเกี่ยวข้อมูลทางประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญ ได้แก่ ข่าวแพทย์ ปีที่ ๓ (เล่ม ๑ – ๑๒) พ.ศ. ๒๔๗๓ หมอปลัดเลโดยนายหนหวย ประวัติการแพทย์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบิดาแห่งการแพทย์ไทย (THE FATHER OF THAI MODERN MEDICINE) ประวัติพระบรมครูแพทย์ชีวกโกมารภัจ สยามยุคเก่า สมุดบันทึกของกฤษณ์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา เกี่ยวกับตำรายาลักษณะโรคต่างๆ และอวัยวะสืบพันธุ์ ประถมศาริรศาสตร์หรือวิชาฝ่ายร่างกายของมนุษย์ สภากาชาดสยาม ความเจริญของการแพทย์ ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ ภาคที่ ๔ เรื่องวิชาแพทย์ไทย พระราชบัญญัติการแพทย์พระพุทธศักราช ๒๔๖๖ การประชุมสมาคมเวชชกรรมเมืองร้อนแห่งบุรพเทศ ครั้งที่ ๘ วิทยาแห่งเพศ ติกิจฉานวิธีของหลวงสุริยพงษ์พิสุทธิแพทย์ การปฐมพยาบาลในยามฉุกเฉิน สภากาชาดกับโรงเรียนแพทย์และพยาบาล เฉลิมพระเกียรติพลเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร 100 ปี ห้างขายยาอังกฤษ (ตรางู) โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ การเปลี่ยนหัวใจคนไข้รายแรกของทีมศัลยกรรมแพทย์ทรวงอก การวิวัฒนาการทางการแพทย์ของไทยสมัยต้นรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๔) อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพรองศาสตราจารย์แพทย์หญิงคุณหญิงพึงใจ งามอุโฆษ งูพันคบในวารสารอนามัย จดหมายข่าว สาธารณสุขมูลฐาน 50 ปีทันตแพทย์จุฬาฯ ปฐมศตวรรษแห่งการศึกษาแพทย์ศาสตร์ 2 ทศวรรษแห่งการพัฒนาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จรรยาแพทย์ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี อายุเอกสารอยู่ระหว่าง พ.ศ. 2447 -2552 รวม 4 กล่อง

ห้องภาพ

วีดีโอ/เสียง

วิดีโอ
Get the Flash Player to see this player.
เสียง
Get the Flash Player to see this player.

เอกสาร

อื่นๆ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร (Identity statement area)
1.1 สัญลักษณ์หรือรหัสอ้างอิง (Reference code(s))

1.2 ชื่อเอกสาร (Title)

1.3 วัน เดือน ปี ของเอกสาร (Date(s))

1.4 ระดับของคำอธิบายเอกสาร (Level of description)

1.5 ขนาดและสื่อของเอกสาร (ปริมาณ จำนวนหรือขนาด) (Extent and medium of the unit ofdescription)
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของเอกสาร (Context area)
2.1 ชื่อผู้ผลิต/รวบรวมเอกสาร (Name of creator(s))

2.2 ประวัติหน่วยงานหรือประวัติเจ้าของเอกสาร (Administrative / Biographical history)

2.3 ประวัติของเอกสารจดหมายเหตุ (Archival history)

2.4 แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร (Immediate source of acquisition or transfer)
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร (Content and structure area)
3.1 ขอบเขตและเนื้อหาของเอกสาร (Scope and content)

3.2 การประเมินคุณค่า การทำลายและการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร (Appraisal destruction and scheduling information)

3.3 การเพิ่มขึ้นของเอกสาร (Accruals)

3.4 ระบบการจัดเรียงเอกสาร (System of arrangement)
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร (Conditions of access and use area)
4.1 เงื่อนไขในการเข้าถึงเอกสาร (Conditions governing access)

4.2 เงื่อนไขการทำสำเนาเอกสาร (Conditions governing reproduction)

4.3 ภาษา/ตัวอักษรของวัสดุจดหมายเหตุ (Language/scripts of material)

4.4 ลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคที่มีผลต่อการใช้เอกสาร (Physical characteristics and technical requirements)

4.5 เครื่องมือช่วยค้น (Finding aids)
ส่วนที่ 5 ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่เกี่ยวข้อง (Allied materials area)
5.1 สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ (Existence and location of originals)

5.2 สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา (Existence and location of copies)

5.3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (Related units of description)

5.4 ข้อความเกี่ยวกับการพิมพ์ (Publication note)
ส่วนที่ 6 ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ หรือส่วนหมายเหตุ (Notes area)
6.1 หมายเหตุ (Notes)
ส่วนที่ 7 ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมการทำคำอธิบายเอกสาร (Description control area)
7.1 บันทึกของนักจดหมายเหตุ (Archivist's note)

7.2 กฎ ระเบียบหรือแนวปฏิบัติ (Rules or conventions)

7.3 วัน เดือน ปีที่จัดทำคำอธิบายเอกสาร (Date(s) of descriptions)