ทั่วไป

หมวดหลัก
เอกสารหน่วยงาน -> กองสุขศึกษา

รหัสเอกสาร
โรคเรื้อน

ผู้รวบรวมเอกสาร
กองสุขศึกษา

ชื่อ
กองสุขศึกษา-พิธีวางศิลาฤกษ์ สถานพยาบาลพระประแดง (รพ.โรคเรื้อน)-ปีพ.ศ. 2501

คำนำ

ในปี พ.ศ.2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงห่วงใยในปัญหาโรคเรื้อนและโครงการควบคุมโรคเรื้อนแบบใหม่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ ศาสตราจารย์นายแพทย์สวัสดิ์ แดงสว่าง อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เข้าเฝ้าถวายรายงานเรื่องปัญหาและแผนการดำเนินโครงการฯ ที่ได้รับสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก ซึ่งเวลาต่อมาพระองค์ทรงรับโครงการควบคุมโรคเรื้อนไว้เป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ โดยมีพระกระแสรับสั่งให้เร่งรัดขยายโครงการฯ ให้ครอบคลุมทั่วประเทศโดยเร็ว และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานทุนอานันทมหิดล จำนวน 175,064.74 บาทเป็นทุนเริ่มแรกให้กับกรมอนามัย เพื่อไปสร้างสถาบันสำหรับศึกษาวิจัยและฝึกอบรมพนักงานบำบัดโรคเรื้อน โดยมีผู้โดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทุนอีกเป็นจำนวนมาก มีการสร้างอาคารทั้งหมด 4 หลังเพิ่มขึ้นในบริเวณสถานพยาบาลโรคเรื้อนพระประแดง และมีพิธีวางศิลาฤกษ์สถานพยาบาลโรคเรื้อนพระประแดง ในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2501 โดยสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2502 และพระองค์ทรงพระราชทานชื่อว่า “สถาบันราชประชาสมาสัย” อันมีความหมายว่าพระมาหากษัตริย์และประชาชนย่อมต้องอาศัยซึ่งกันและกัน

 

ห้องภาพ

วีดีโอ/เสียง

วิดีโอ
Get the Flash Player to see this player.
เสียง
Get the Flash Player to see this player.

เอกสาร

อื่นๆ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร (Identity statement area)
1.1 สัญลักษณ์หรือรหัสอ้างอิง (Reference code(s))

1.2 ชื่อเอกสาร (Title)

1.3 วัน เดือน ปี ของเอกสาร (Date(s))

1.4 ระดับของคำอธิบายเอกสาร (Level of description)

1.5 ขนาดและสื่อของเอกสาร (ปริมาณ จำนวนหรือขนาด) (Extent and medium of the unit ofdescription)
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของเอกสาร (Context area)
2.1 ชื่อผู้ผลิต/รวบรวมเอกสาร (Name of creator(s))

2.2 ประวัติหน่วยงานหรือประวัติเจ้าของเอกสาร (Administrative / Biographical history)

2.3 ประวัติของเอกสารจดหมายเหตุ (Archival history)

2.4 แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร (Immediate source of acquisition or transfer)
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร (Content and structure area)
3.1 ขอบเขตและเนื้อหาของเอกสาร (Scope and content)

3.2 การประเมินคุณค่า การทำลายและการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร (Appraisal destruction and scheduling information)

3.3 การเพิ่มขึ้นของเอกสาร (Accruals)

3.4 ระบบการจัดเรียงเอกสาร (System of arrangement)
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร (Conditions of access and use area)
4.1 เงื่อนไขในการเข้าถึงเอกสาร (Conditions governing access)

4.2 เงื่อนไขการทำสำเนาเอกสาร (Conditions governing reproduction)

4.3 ภาษา/ตัวอักษรของวัสดุจดหมายเหตุ (Language/scripts of material)

4.4 ลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคที่มีผลต่อการใช้เอกสาร (Physical characteristics and technical requirements)

4.5 เครื่องมือช่วยค้น (Finding aids)
ส่วนที่ 5 ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่เกี่ยวข้อง (Allied materials area)
5.1 สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ (Existence and location of originals)

5.2 สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา (Existence and location of copies)

5.3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (Related units of description)

5.4 ข้อความเกี่ยวกับการพิมพ์ (Publication note)
ส่วนที่ 6 ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ หรือส่วนหมายเหตุ (Notes area)
6.1 หมายเหตุ (Notes)
ส่วนที่ 7 ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมการทำคำอธิบายเอกสาร (Description control area)
7.1 บันทึกของนักจดหมายเหตุ (Archivist's note)

7.2 กฎ ระเบียบหรือแนวปฏิบัติ (Rules or conventions)

7.3 วัน เดือน ปีที่จัดทำคำอธิบายเอกสาร (Date(s) of descriptions)