ทั่วไป

หมวดหลัก
เอกสารหน่วยงาน -> สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ

รหัสเอกสาร
คลินิกหมอครอบครัว

ผู้รวบรวมเอกสาร
สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ

ชื่อ
สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ-บทบาทคลินิกหมอครอบครัว(Primary Care Cluster)

คำนำ

คลินิกหมอครอบครัวมีบทบาทดังนี้
1.สร้างเสริมสุขภาพ ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุข โดยสามารถควบคุมปัจจัยเสี่ยงและพัฒนาสุขภาพ ทั้งตนเอง ครอบครัวและสังคม

2.ดูแลและเป็นที่พึ่งยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ เช่น ผู้ป่วยกลุ่มเปราะบาง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย เน้นการดูแลทั้งการดูแลระยะยาว (Long Term Care) การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) โดยเน้นการมีทีมดูแลถึงที่บ้าน
3.ดูแลรักษา เยียวยา บำบัด ฟื้นฟูสภาพ เป็นที่พึ่งให้ประชาชนและครอบครัว ในทุกสภาวะสุขภาพอย่างเข้าใจทุกปัญหาสุขภาพ ของครอบครัวอย่างแท้จริง
4.ให้คำปรึกษา แนะนำต่างๆ ในหลากหลายช่องทางที่ยึดความสะดวก และสอดคล้องกับบริบทของประชาชน และครอบครัวเป็นสำคัญ
5.ดูแลในกรณีมีการส่งต่อให้เป็นไปอย่างราบรื่น เป็นตัวกลางในการเชื่อมประสาน เป็นที่ปรึกษาและติดตามหลังส่งต่อจนสิ้นสุดปัญหาด้านความเจ็บป่วย
6.เสริมพลังให้ประชาชนให้เข้าใจสุขภาพตนเอง และสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) ให้สอดคล้องกับบริบทสังคมวัฒนธรรมของแต่ละครอบครัว
7.จัดทำข้อมูลสถานะสุขภาพประจ าครอบครัว (Family Health Status) เพื่อให้รู้ปัจจัยเสี่ยง รวมถึงแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพ เข้าใจประวัติชีวิตครอบครัว เข้าใจความสัมพันธ์ของปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรมที่เป็นตัวกำหนดสภาวะสุขภาพของครอบครัว เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสุขภาวะ

ห้องภาพ

วีดีโอ/เสียง

วิดีโอ
Get the Flash Player to see this player.
เสียง
Get the Flash Player to see this player.

เอกสาร

อื่นๆ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร (Identity statement area)
1.1 สัญลักษณ์หรือรหัสอ้างอิง (Reference code(s))

1.2 ชื่อเอกสาร (Title)

1.3 วัน เดือน ปี ของเอกสาร (Date(s))

1.4 ระดับของคำอธิบายเอกสาร (Level of description)

1.5 ขนาดและสื่อของเอกสาร (ปริมาณ จำนวนหรือขนาด) (Extent and medium of the unit ofdescription)
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของเอกสาร (Context area)
2.1 ชื่อผู้ผลิต/รวบรวมเอกสาร (Name of creator(s))

2.2 ประวัติหน่วยงานหรือประวัติเจ้าของเอกสาร (Administrative / Biographical history)

2.3 ประวัติของเอกสารจดหมายเหตุ (Archival history)

2.4 แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร (Immediate source of acquisition or transfer)
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร (Content and structure area)
3.1 ขอบเขตและเนื้อหาของเอกสาร (Scope and content)

3.2 การประเมินคุณค่า การทำลายและการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร (Appraisal destruction and scheduling information)

3.3 การเพิ่มขึ้นของเอกสาร (Accruals)

3.4 ระบบการจัดเรียงเอกสาร (System of arrangement)
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร (Conditions of access and use area)
4.1 เงื่อนไขในการเข้าถึงเอกสาร (Conditions governing access)

4.2 เงื่อนไขการทำสำเนาเอกสาร (Conditions governing reproduction)

4.3 ภาษา/ตัวอักษรของวัสดุจดหมายเหตุ (Language/scripts of material)

4.4 ลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคที่มีผลต่อการใช้เอกสาร (Physical characteristics and technical requirements)

4.5 เครื่องมือช่วยค้น (Finding aids)
ส่วนที่ 5 ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่เกี่ยวข้อง (Allied materials area)
5.1 สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ (Existence and location of originals)

5.2 สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา (Existence and location of copies)

5.3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (Related units of description)

5.4 ข้อความเกี่ยวกับการพิมพ์ (Publication note)
ส่วนที่ 6 ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ หรือส่วนหมายเหตุ (Notes area)
6.1 หมายเหตุ (Notes)
ส่วนที่ 7 ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมการทำคำอธิบายเอกสาร (Description control area)
7.1 บันทึกของนักจดหมายเหตุ (Archivist's note)

7.2 กฎ ระเบียบหรือแนวปฏิบัติ (Rules or conventions)

7.3 วัน เดือน ปีที่จัดทำคำอธิบายเอกสาร (Date(s) of descriptions)